|
|
เว็บไซด์ที่น่าสนใจ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
Tel : 089-1176534 |
|
|
|
|
|
|
|
ประวัติหินทิเบต |
|
|
มีตำนานเล่าว่าในสมัยเริ่มแรกของทิเบต ได้เกิดโรคระบาดอย่างรุนแรง ชาวทิเบตต้องตกอยู่ในความทุกข์ทรมาน โชคดีที่ได้พระองค์หนึ่งผ่านมานามว่า Vajravarahi ได้มาช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ โดยทำให้หินวิเศษdZi หล่นมาจากฟ้า ใครก็ตามที่เชื่อมั่นก็จะปลอดภัยจากโรคร้าย ปลอดจากความหายนะและโชคร้ายทั้งปวง ประวัติความเป็นมาของหินทิเบต
dZi ปรากฏในสมัย 3,000-1,500 ปีก่อนคริสตกาล ในอินเดียโบราณมีชนเผ่าอารยันอาศัยอยู่ ผู้คนในสมัยนั้นนับถือและสวดอ้อนวอนพระเจ้า ใช้เวทย์มนต์ มีการแกะสลักหินเป็นรูปสัตว์และสัญลักษณ์อื่น ๆ เพื่อทำให้วิญญาณบริสุทธิ์ หินในสมัยนั้นเรียกว่า เวด้า (Veda) เริ่มแรกลวดลายนั้นเกิดจากสภาพแวดล้อมและความรุนแรงของปรากฏการณ์ธรรมชาติ ต่อมาพวกเขาจึงได้คิดวิธีการรักษาโรคร้ายโดยใช้หินที่แกะลวดลายต่าง ๆ นำมาสวดอ้อนวอนขอความช่วยเหลือจากพระเจ้า
หินdZi ในภาษาทิเบต มีความหมายว่าสวยงาม อำนาจ ร่ำรวย ในภาษาสันสกฤตเรียกว่า ไมซีก้า (Meiziga) ในสมัยฮ่องเต้ถังไท่จง พระธิดาของพระองค์ได้อภิเษกสมรสกับกษัตริย์ของทิเบต พระธิดาได้นำพระพุทธรูปจากอินเดีย เป็นสินสมรส และได้ประดิษฐานไว้ที่วัดโจคังในเมืองลาซา ชาวทิเบตได้ใช้หินdZi มากกว่าร้อยเม็ดฝังไว้ในองค์พระ 
ในบันทึกทางประวัติศาสตร์กล่าวว่าได้มีการติดต่อกันระหว่างทิเบตและยูหยวน และมีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกันดังนั้นตำนานการทำหินdZi จึงมีการถ่ายทอดกันมาหลายรุ่นจนถึงปัจจุบัน
หินdZi พบมากในประเทศแภบเทือกเขาหิมาลัย เช่น ทิเบต ทิเบตตะวันออก ภูฏาน สิกขิม ลาดัค ชาวทิเบตเรียกอีกชื่อว่า เทียนจู ย้อนไปเมื่อ 5,000 ปีมาแล้ว ชาวทิเบตพบว่ามีสนามแม่เหล็กรอบ ๆ หินนี้จึงนำมาทำก้อนกลม ๆ และแบบต่าง ๆ แต่ในสมัยนั้นยังไม่มีเทคนิคในการทำมากนัก จึงได้หินที่มีลายตื้น ๆ ต่อมาชาวทิเบตได้วาดลวดลายหินนำโชคหลาย ๆ ลายเช่น แจกันโภคทรัพย์ ดอกบัว ลายเขี้ยวเสือ ตาหลาย ๆ แบบ และลายเส้น ฯลฯ แล้วนำไปเผาด้วยความร้อนสูง เพื่อให้ลวดลายซึกเข้าไปลึก ถ้าหินdZi ได้ผ่านการสวดหรือปลุกเสกโดยพระผู้มีวิชาหรือปรมาจารย์ทางลัทธิเต๋า จะทำให้มีพลังวิเศษ กล่าวกันว่าเฉพาะผู้ที่มีบุญวาสนาเท่านั้นที่จะมีโอกาสได้ครอบครองหินนำโชคนี้
ส่วนประกอบของหินdZiแท้ ทำจากหินอาเก็ต เรียกว่า คาลซีโดนี (Chalcedony) มีชื่อทางเคมีว่า ซิลิกอนไดออกไซด์ (SiO2) หินทิเบตแท้จะปล่อยสนามแม่เหล็กที่มีพลังงานสูงมากออกมาลักษณะภายนอกจะแบ่งได้ 4 ชนิด ได้แก่ หินสีแดงซึ่งอยู่ลึกที่สุดของภูเขาขณะเดียวกันก็ทีค่าพลังวัตรและมีมูลค่ามากที่สุด นอกจากสีแดงยังมีหินสีดำ หินสีดำขาว และหินสีขาวหรือสีใสซึ่งอยู่ชั้นนอกสุดที่ระดับความลึกประมาณ 2-3 เมตร
|
|
|
|
ไทยรัฐ ปีที่ 60 ฉบับที่ 18625 วันอาทิตย์ ที่ 18 มกราคม 2552 |
|
|
|
|
|
|
สินค้าแนะนำ |
T0102 |
฿ 599 Bth  |
D0H03 |
฿ 2999 Bth  |
D0903 |
฿ 1499 Bth  |
H0301 |
฿ 2999 Bth  |
N0101 |
฿ 999 Bth  |
|
|
|